น้ำ เป็นสัญลักษณ์ในการชำระล้างผู้ที่เข้ารับตำแหน่งใหม่หรือหน้าที่ใหม่ในชีวิต ให้ประสบความสุขสวัสดี และความสำเร็จในหน้าที่ใหม่ เช่นการรดน้ำสังข์ การเข้ารับตำแหน่งหรือการสถาปนาพระมหากษัตริย์ ต้องผ่านพระราชพิธีสำคัญคือ ราชาภิเษก ซึ่งประกอบด้วย คือ การอภิเษก การ กระทำสัตย์ และการถวายราชสมบัติ เพื่อดำรงตำแหน่งอย่างถูกต้องสมบูรณ์ ขั้นตอนที่สำคัญที่สุดคือการอภิเษก ซึ่งต้องใช้น้ำในการประกอบพิธี เพื่อความเป็นใหญ่ เป็นพระราชาธิราช สื่อถึงพระราชอำนาจที่พสกนิกรถวายแด่พระมหากษัตริย์
นภาพร เล้าสินวัฒนา. (2549). การเสด็จขึ้นครองราชย์ พระราชพิธี คติ ความหมาย สัญลักษณ์แห่ง “สมมุติเทวราช”. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
วามเทพมุนี, พระครู. (2550). การบรรยายพิเศษ: เรื่องที่เกี่ยวกับศาสนาและพิธีพราหมณ์ในราชสำนักและสังคมไทย. ใน โครงการวัฒนธรรมสัญจร ครังที่ 2 เอกสารประกอบการเสวนาและทัศนศึกษา วิถีพราหมณ์ในสังคมไทย. (น.1-13). กรุงเทพฯ : สำนักวรรณกรรมและประวัติศารยย
แสงสูรย์ ลดาวัลย์, ม.ร.ว. (2526) พระราชพิธีบรมราชาภิเษกสมัยกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : สำนักวรรณกรรมและปรัวิตศาสตร์ กรมศิลปากร.
ณัฏฐภัทร จันทวิช. (2530). พระราชพิธีบรมราชาภิเษก. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร.
The Coronation Ritual and Thai Kingship since the mid-nineteenth century. สืบค้น มิถุนายน 15, 2018, จากhttps://scholarbank.nus.edu.sg/bitstream/10635/16627/3/DabphetSiriporn.pdf
Sarayu. สืบค้น มิถุนายน 15, 2018 จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Sarayu
สำนักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 9/9 หมู่.9 ต.บางพูด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120 02-504-7463-65 02-503-3604 08-7100-1983